วันเสาร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 15 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2554

สำหรับการเรียนในวันนี้ก็เป็นการเข้าเรียนคั้งสุดท้าย อาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษาส่งงานทุกอย่างที่ยังค้างอยู่และได้ตรวจงานที่นักศึกษาส่งไปแล้วทั้งหมด และอาจารย์ได้หนัดหมายกับนักศึกษาเกี่ยวกับวันสอบปลายภาค โดยได้หนัดหมายวันสอบวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ตึกคณะศึกษาศาสตร์

ครั้งที่ 14 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2554

1 วันี้อาจารย์ให้นักศึกษาวัดความรู้ดั้งหัวข้อต่อไปนี้
- การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนควรมีลักษณะอย่างไร
- มุมที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
- มุมบ้าน
- มุมหมอ
- มุมจรจร
- มุมร้านค้า

2 ข้อคิดสำหรับการสอนภาษา
ลักและเกฌฑ์ให้นักศึกษาไปคิด
- เริ้มจากตัวเด็กก่อน ไม่ว่าจะความพร้อมและความสนใจ
- สอนแบบเป้นธรรมชาติ
- สอนอย่างมีเความหมาย
- สอนจากสิ่งที่เด็กได้พบเห็น หรือมีประสบการณ์มาก่อน
- สอนให้เด็กสนุกสนานและอยากจะเรียน
- ให้โอกาศเด็กได้ใช้ภาษา
- เด็กอยากอ่านก็ควรให้อ่าน เด็กอยากเขียนก็ควรให้เขียน

3 เทคนิคที่ไม่ควรนำไปใช่ในการสอนภาษา
- เน้นความจำ
- เน้นการฝึก
- ใช้การทดสอบ
- สอนแต่ลักษณะแยกจากกัน
- การตีตราเด็ก
- ใช้แบบฝึกที่เป็นกระดาษหรือดินสอเป็นจุดปะ
- ไม่ยอมรับความผิดพลาด
- สอนภาษาเฉพาะเวลาที่กำหนด
- ช่วงการสอนภาษาจะจำกัดเวลา
- จำกัดวัสดุอุปกรณ์อาจเหลือเพียง ดินสอ หนังสือแบบเรียน

4 เทคนิคที่ควรนำไปใช้ในการสอนภาษา
- สอนในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ
- สอนสิ่งที่มีความหมายสำหรับเด็ก
- สอนจากสิ่งที่รู้ไปยังสิ่งที่ไม่รู้
- บรูณาการให้เข้ากับสาขาวิชาเรียน
- เปิดโอกาศให้เด็กทุกคนเรียนรู้ภาษา
- ใช้ความคิดและถ้อยคำของเด็ก
- ให้โอกาศเด็กอย่างมากมาย
- จัดหาเครื่องใช้ต่างๆ
- ทำให้การเรียนหน่าสนใจและสนุกสนาน

5 อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเพลงเกาะสะมุยแล้วให้นักศึกษาเขียนส่งดังนี้
- นักศึกษาฟังเพลงเกาะสะมุยแล้วมีความรู้สึกอย่างไร
- เนื้อเพลงเกาะสะมุยเคาอยากจะบอกอะไร

6 บรรยากาศในห้อง ก็ดี เรียนรู้เรื่องเข้าใจได้ดีมากและควรนำไปใช้ มีความรู้ที่เค็มค้น

ครั้งที่ 13 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2554

1 วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนเมื่อเด็กได้รับโอกาศในการทำกิจกรรม ที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่ และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆเพียงลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกัน ในการรับฟังและตรวจสอบความคิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครูและเด็กเขียนร่วมกันหรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเองนับได้มากเป็นการอ่านที่ดีที่สุดสำหรับเด็ก
2 ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม
- 1 อ่าน- เขียน
- เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท้องจำตัวหนังสือผ่านการฟังนิทานเรืองราวสนทนาโต้ตอบ
- การคาดคเนโดยการเดาในขณะ อ่าน- เขียน และสะกดที่เป็นสิ่งยอมรับได้ในการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติ
- มีหนังสือ วัสดุ สิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กได้เป็นผู้เลือกเพือจะได้รับประสบการณ์อย่างหลากหลาย
- ครูแนะนำและสอนการอ่านในกลุมที่ใหญ่ โดยใช้หนังสือที่ใหญ่และเห็นชัดเจน
- ให้เด็กแบงเป็นกลุ่มเล็กๆ ผลัดกันอ่านด้วยการออกเสียง
- ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อยสอนให้รู้จักการใช้ภาษาและเปิดหนังสืออย่างถูกวิธี
- เปิดโอกาศให้เด็กได้พูดคุยชักถามจากประสบการณ์เดิมที่ครูสามารถวัดการอ่านของเด็กได้
- ให้เด็กแต่ละคนได้มีโอกาศเลือกอ่านหนังสือที่ชอบและยื่มไปอ่านได้ที่บ้าน
- ให้เด็กได้ ขีด เขียน วาดภาพจากสิ่งที่รับจากประสบการณ์
- ครูตรวจสอบการเขียนของเด็กแต่ละคนแนะนำการเขียนที่ถูกต้อง

2.2 ขั้นของการพัฒนาในการอ่าน
- ขั้นแรก คำที่มีความหมายต่อชีวิตเด็กชื่อ คน อาหาร สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
- ขั้นสอง ผู้เรียนจะผูกพันกับตัวอักษรเพิ้มขึ้น เรียกชื่อได้ อ่านได้ถูกและเรียนรู้ที่อยู่ของตำแหน่งอักษร
- ขั้นสาม เด็กแยกแยะตัวอักษรตลอดจนระเบียบแบบแผนของตัวอักษรเริ้มจากซ้ายไปขวา
- ขั้นสุดท้าย ระบบของตัวอักษร คือเป้าหมายสุดท้ายของการอ่าน

3 การรับรู้และการพัฒนาทางด้านภาษาเขียนของเด็กไว้ก่อนเรียน
ระยะแรก เด็กเริ้มแยกแยะความแตกต่างระว่างสัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวอักษรและไม่ใช้อักษร เขาจะใช้สัญลักษณ์ที่คิดขึ้นเองแทนตัวอักษร
ระยะสอง ลักษณะที่สำคัญ คือการเขียนตัวอักษรที่ต่างกัน สำหรับคำพูดแต่ละคนพูด เด็กจะเริ้มแสดงความแตกต่างของข้อความ โดยการเขียนตัวอักษรที่ต่างกัน
ระยะสาม เด็กเริ้มใช้ลักษณะการออกเสียงในขณะเขียน และการเขียนใกล้เคียง

วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 12 วันที่ 25 มกราคม 2554

ภาษาธรรมชาติ


โคมินิอุส
เด็กสามารถค้นพบข้อมูลใหม่ๆได้ด้วยการนำเสนอด้วยสิ่งที่เด็กคุ้นเคยในชีวิตอยู่แล้ว เด้กจะเข้าใจสิ่งของที่เป็นรูปธรรมได้โดยการใช้ภาษาถิ่นหรือภาษาในชีวิตประจำวันของเด็ก


กู๊ดแมน สมิธ เมอร์ดิช
ความร้จะเกิขึ้นอย่างพรั่งพรูจากกระบวนการเรียนรู้และมีการพัฒนาภาษาพูด ภาษาเขียน ซึ่งครูจะเห็นได้ชัดเจนจากการที่เด็กๆอาศัยภาษาเป็นสื่อในการแก้ปัญหาต่างๆอยางมีความหมาย ในกระบวนการเรียนรู้


จูดิจ นิวแมน
การสอนภาษาโดยแนวคิดองค์รวมมีลักษณะเป็นปรัชญา ความคิด ของผู้สอนโดยก่อตัวขึ้นจากหลักการสอนที่ผู้สอนนำมาบูรณาการ

ครั้งที่ 11 วันที่ 18 มกราคม 2554

อาจารย์ให้วาดรูปครอบครัวของฉัน พร้อมบอกชื่อบุคคลในครอบครัวและให้แต่ละกลุ่มออกมาแสดงท่าทางตามหัวข้อ

-คำคล้องจอง
-หนูรู้สึกยังไง
-ครอบครัวของฉัน
-ฟังและปฏิบัติ
-กระซิบต่อกัน
-วาดภาพและนำมาเล่าภาพต่อกัน
-วาดไปเล่าไป
-ร้องเพลง

ครั้งที่ 10วันที่ 15 มกราคม 2553

-ระยะแยกแยะ อายุ 6เดือน - 1 ปี ในระยะนี้เด็กจะเริ่มแยกแยะสิ่งที่เขาได้ยิน เช่น เสียงพูดของแม่
-ระยะเลียนแบบ อายุ1-2 ปี เสียงที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะเสียงของคนใกล้ชิด เป็นเสียงที่เด็กวัยนี้สนใจและเลียนแบบเสียงที่เปล่งออกมาเริ่มมีความหมาย และแสดงกิริยาตอบสนองการได้ยินของผู้อื่น
-ระยะขาย อายุ 2-4 ปี เด็กจะหัดพูดโดยกาเปล่งเสียง ออกมาเป็นคำโดยระยะแรกจะพูดโดยเรียกชื่อของคน ที่อยู่รอบข้าง สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว รวมทั้งคำคุณศัพท์ที่ผู้ใหญ่พูดกัน
-ระยะโครงการ อายุ 4-5ปี การรับรู้หรือการสังเกตของเด็กวัยนี้ดีขึ้นมาซึ่งทำใหเด็กได้สังเกตการใช้ภาษาของบุคคลรอบข้างและนำมาทดลองใช้ประสบการณ์ที่เด็กได้รับเช่น จากการฟังนิทาน การดูโทรทัศน์ การเล่นกับเพื่อน หรือพี่น้อง การพูดคุยกับผู้ใหญ่ช่วยให้เด็กเก็บข้อมูลทางภาษาเพิ้มมากขึ้น
-ระยะตอบสนอง อายุ5-6 ปี การพัฒนาภาษาของวัยนี้จะสูงขึ้น เพราะเด็กจะเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล เด็กได้พัฒนาคำศัพท์เพิ่มมากขึ้น
- ระยะสร้างรรค์ อายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป เด็กจะสามารถพัฒนาความสามารถทางภาษามากขึ้น สามารถจดจำสัญลักษณ์ทางภาษาได้มากขึ้น ด้านการพูด สามารถใชัถ้อยคำที่เป็นสำนวนหรือคำที่มีความหมายลึกซึ้งได้ เด็กจะพัฒนาวิเคราะห์และสร้างสรค์ทักษะทางภาษาได้สูงมากขึ้น

ครั้งที่ 9 วันที่ 11 มกราคม 2554

-ส่งสมุดเล่มเล็กและใบงานฉันชอบกิน
-อาจารย์ติชม ผลงาน พร้อมข้อเสนอแนะให้ปรับปรุงแก้ไขตัวหนังสือ

วิเคราะห์กิจกรรมส่งเสริมภาษา(แบ่งกลุ่ม)
-โฆษณา
-ประชาสัมพันธ์
-ประกาศ
-ของรักของหวง
-เล่าเรื่องจากภาพ
-เล่าประสบการณ์

เด็กทุกคนจะสามารถเรียนภาษาในสังคมของตนเอง เด็กอายุ สามถึงสี่ปีสามารถเรียนความซับซ้อนของประโยคในภาษาของตนได้แล้ว เด็กจะเรีนรู้กฏของภาษาจากภาษาพูดที่ตนได้ยินและประโยคที่เด็กพูดจะเป็นประโยคที่เด็กสร้างขึ้นมาใหม่กว่า การเลียนแบบ เด็กจะต้องเรียนรู้โดยการฟังคนพูด และการอยู่ในสถานการณ์นั้นๆด้วย เด็กจะพยายามเข้าใจในสิ่งที่ตนได้ยินและพยายามแสดงออกถึงความตั้งใจในสิ่งที่เขาสามารถทำได้

ภาษามีอิทธิพลต่อการรับรู้และการคิดของคนเรา
ความคิดจะต้องใช้ภาษา เราต้องรับรุ้ถึงขอบเขตของภาษาในการกำหนดความคิดและการทำงานภาษามีบทบาทอันสำคัญในกระบวนการพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษาเป็นเครื่องมือ ภาษาต้องมีการแสดงออกทางด้านสื่อสาร เช่น การย้ำ ปฏิเสธ ขอร้อง สั่ง ฯลฯ ภาษามีจุดประสงค์ที่ซับซ้อน การใช้ภาษาใลักษณะต่างกันแสดงออกถึงความตั้งใจที่ต่างกัน